ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าว
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาง ระเบียบ ลำงาม | สามัญ |
2 | นางสาว รจนา วงศ์จันทร์ | สามัญ |
3 | นาง ชุติมณฑน์ พวงมะลัย | สามัญ |
4 | นาย ชาญชัย ลำงาม | อุตสาหกรรม |
5 | นางสาว จิราพร พันธ์วัตร | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย ถิรวัฒน์ โสมมา | ปวช. |
2 | นางสาว อุบลรัตน์ ช่วยสุข | ปวช. |
3 | นางสาว อภิสมัย จันทะเสน | ปวช. |
4 | นางสาว วิภา ยศบุญ | ปวช. |
5 | นางสาว อรอนงค์ ไม้น้อย | ปวช. |
6 | นางสาว สุนันธนาภรณ์ พุทธา | ปวช. |
7 | นางสาว ดอกคูณ พันแสน | ปวส. |
8 | นางสาว มนต์ทิรา อัจฉยา | ปวส. |
9 | นาย กิตติธัช บำเพ็ญ | ปวส. |
10 | นาย ชัยณรงค์ สรรพคุณ | ปวส. |
วิทยาลัยเทคนิคตระการพืชผล
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
บทคัดย่อ
วัตถุดิบที่เหมาะในการทำผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าวแห้ง 3,700 กรัม รำอ่อน 400 กรัม ผักตบชวาแห้งสับละเอียด 400 กรัม จุลินทรีย์ (EM) 10 มิลลิลิตร น้ำตาลทรายแดง 28.5 กรัม สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 1.5 กรัม น้ำสะอาด 460 มิลิลิตร จะได้ปุ๋ยมีลักษณะอ่อนนุ่มและเปื่อยยุ่ย ไม่สามารถจับตัวเป็นก้อน มีความชื้น มีสีน้ำตาลเข้ม และไม่มีกลิ่นเหม็น เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้แทนปุ๋ยคอกทั่วไปแต่ใช้ปริมาณน้อยกว่าแล้วมีประสิทธิภาพดีกว่า 3 เท่า
ประโยชน์ / คุณลักษณะ
1. ได้รู้จักกรรมวิธีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของวัตถุดิบต่าง ๆ มากขึ้น
2. ได้อัตราส่วนของส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ถูกสุขลักษณะ สำหรับการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าว
3. ได้ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าว ที่สามารถพัฒนาสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ได้และสร้างรายได้
1. ได้รู้จักกรรมวิธีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของวัตถุดิบต่าง ๆ มากขึ้น
2. ได้อัตราส่วนของส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ถูกสุขลักษณะ สำหรับการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าว
3. ได้ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลของด้วงมะพร้าว ที่สามารถพัฒนาสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ได้และสร้างรายได้