ตู้ฟักไข่ไก่อัตโนมัติ
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย วีรยุทธ ภุมรินทร์ | อุตสาหกรรม |
2 | นาย เอกวุฒิ คำสุวรรณ | อุตสาหกรรม |
3 | นาย สราวุธ สายวงค์ตา | อุตสาหกรรม |
4 | นาย ชัยณรงค์ เกิดช้ำ | อุตสาหกรรม |
5 | นางสาว ผุสดี วงษ์ธัญญะ | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย วิศรุต จรชื่น | ปวช. |
2 | นาย ประเนตร กลิ่นหอม | ปวช. |
3 | นาย ธนัท มูลสาลี | ปวช. |
4 | นาย ภานุวัฒน์ พรมทุ่ง | ปวช. |
5 | นาย ธนวัฒน์ ศรีธนู | ปวช. |
6 | นาย บดินทร์ สิงห์ศก | ปวช. |
7 | นาย ชุติมันต์ ตั้งใจ | ปวส. |
8 | นาย พงศธร สุตินกาศ | ปวส. |
9 | นาย ธัชชัย พลาพล | ปวส. |
10 | นาย จักรกฤษณ์ เขียวขำ | ปวส. |
วิทยาลัยเทคนิคสองแคว
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างตู้ฟักไข่ไก่อัตโนมัติ ซึ่งสามารถพลิก-กลับไปได้ด้วยตัวเองและยังสามารถ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นต่างๆ ควบคุมการทำงานด้วยบอร์คไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino UNO R3 และทำงานร่วมกับ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์รุ่น DHT22 มีมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับขนาด 220V 50Hz ความเร็วรอบ 2.5 รอบต่อนาที สำหรับทำหน้าที่กลับไข่และมีพร็อกซิมิตี้เซนเซอร์ตรวจจับตำแหน่งเพื่อให้มอเตอร์หยุดการทำงาน สำหรับการสร้างความชื้นจะใช้อุปกรณ์สร้างความชื้นแบบอัลตร้าโซนิค และใช้อุปกรณ์ฮีตเตอร์แบบอินฟราเรคในการสร้างความร้อนภายในเครื่องฟักไข่ไก่ อัตโนมัติ โดยตู้ฟักไข่ไก่อัตโนมัติ นี้สามารถฟักไข่ไก่ได้ไม่เกิน 24 ฟอง
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ตู้ฟักไข่ไก่อัตโนมัติ ใช้เวลาในการฟักไข่ไก่น้อยกว่าการฟักไข่ไก่ด้วยแม่ไก่และสามารถควบคุมอุณหภูมิในการฟักของไข่ไก่ได้ดี
1. ช่วยลดปัญหาในการฟักไข่ไก่ไม่เป็นตัว
2. ช่วยลดเวลาในการฟักไขไก่
3. นำความรู้ที่ได้สู่การพัฒนาอาชีพในอนาคต
เอกสาร/ระดับ | อศจ. |
ว-สอศ-2 | |
ว-สอศ-3 | |
ภาคผนวก |