ระบบสมาร์ทฟอร์มปลากัดแฟนซี
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นางสาว ภัททิรา ชานันท์โท | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
2 | นาย วิทยา ปราจันทร์ | อุตสาหกรรม |
3 | นางสาว อันธิกา แก้วบุญธรรม | อุตสาหกรรม |
4 | นาย ณัฐพงษ์ ไทยพานิช | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
5 | นางสาว บุศรา มั่นเมือง | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย กรวิชญ์ ทาขัด | ปวช. |
2 | นาย สุวนันท์ ตุ่นคำ | ปวช. |
3 | นางสาว สุธาวัลย์ ตุ่นคำ | ปวช. |
4 | นาย ถาวร สีวงษ์ | ปวช. |
5 | นางสาว วริศรา หมูปิน | ปวช. |
6 | นาย ธีระพล โคสอน | ปวส. |
วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ (Mini Smart Farms)
บทคัดย่อ
ระบบสมาร์ทฟอร์มปลากัดแฟนซี นำมาใช้เพื่อแก้ปัญหาของการเลี้ยงปลากัดแฟนซีที่การขึ้นรูปทรงและเครื่องหาง สีสันยังไม่สวยงาม ทำให้ไม่สามารถส่งออกได้ เพราะการฟอร์มของปลากัดยังไม่มากพอ ประกอบกับการพัฒนาการด้านเทคโนโลยีทางด้าน IOT Internet of Things (IoT) ที่สามารถควบคุมผ่านบนอุปกรณ์มือถือมีมาพัฒนาอย่างกว้างขวาง และเป็นที่นิยมในคนหมู่มาก นักวิจัยจึงเล็งเห็นประโยชน์ของของการควบคุมดังกล่าวนั้นสามารถปรับใช้กับชีวิตประจำวัน ซึ่งมีวิธีการดำเนินวิจัย โดยนำใช้บอร์ด Arduino Mega with WiFi ร่วมกับการใช้แอพลิเคชั่น Blynk ในการควบคุมการทำงาน
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ผลการทดลองพบว่าระบบสมาร์มฟอร์มปลากัดแฟนซีที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยประหยัดเวลาและแรงงานคนในการดูแลการฟอร์มปลา การทำงานสามารถควบคุมผ่านทางแอพลิเคชั่นที่ได้พัฒนาขึ้น ซึ่งระบบการฟอร์มปลาสามารถควบคุมอุณหภูมิ ระดับน้ำในตู้ปลา พร้อมทั้งการแจ้งเตือนกรณีที่ระดับน้ำต่ำกว่าที่กำหนด และควบคุมอุณหภูมิร้อน-เย็น
ผู้ใช้งานสามารถดูแลปลากัดในขณะที่อยู่ข้างนอกโดยสื่อสารผ่านทางแอพลิเคชั่น และระบบสามารถทำการแจ้งเตือนให้ผู้ใช้ได้เมื่อเกิดอุณหภูมิร้อนหรือเย็นเกินไป
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | - | |
ว-สอศ-3 | - | |
ภาคผนวก | - |