เครื่องดำนาสำหรับรายย่อย
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย อมฤต คำชมภู | อุตสาหกรรม |
2 | นาย สถาปนิก คุ้มสะอาด | อุตสาหกรรม |
3 | นาย ชินวัฒน์ พิลึก | อุตสาหกรรม |
4 | นาย ทศพร มือขุนทด | อุตสาหกรรม |
5 | นาย อาทิตย์ แก้วแดง | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย สกล ชัยพิพัฒน์ | ปวช. |
2 | นาย สราวุธ โอภาษี | ปวช. |
3 | นาย สุริโย สิงห์โตทอง | ปวช. |
4 | นาย เวหา อินบุรี | ปวช. |
5 | นาย นาคินทร์ กาวิละวงค์ | ปวช. |
6 | นาย พรรณวัฒน์ กาญจนวิเชียร | ปวช. |
7 | นาย ศุภชัย อักษรศรี | ปวช. |
8 | นาย ปรานต์ ประเสริฐผล | ปวช. |
9 | นาย ธนบูรณ์ เรืองศรี | ปวช. |
10 | นาย สุวพิชชา อินทร์ตา | ปวช. |
วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ
บทคัดย่อ
ผู้ศึกษาได้จัดทำการศึกษา เรื่องการออกแบบและเครื่องดำนาสำหรับรายย่อยซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเครื่องดำนาสำหรับรายย่อย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั้ง 2 ด้าน เฉลี่ยรวม อยู่ในระดับดีมาก
คุณลักษณะ / ประโยชน์
เครื่องดำนาสำหรับรายย่อย ซึ่งมีประสิทธิภาพสมารถปักดำได้วันละ 3-5 ไร่ เทียบเท่าการใช้แรงงานคนดำ 3-4 คน อัตราการสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงต่อไร่ 0.75-1 ลิตร ราคาครื่องดำนาไม่เกิน 20,000 บาทซึ่งต่ำกว่าเครื่องดำนาแบบคนเดินตาม เหมาะสมพื้นที่ เกษตรกรรายย่อยที่มีพื้นที่ไม่ใหญ่ เกษตรกรที่ทำเกษตรชีวภาพ เพื่อช่วยลดต้นทุนและแรงให้เกษตรกร รวมทั้งให้ความปลอดภัยและประสิทธิภาพสูง เครื่องดำนาสำหรับเกษตรกรรายเล็กที่สร้างขึ้นโดยนำเอาความรู้ด้านวัสดุประยุกต์ใช้ โดยมีส่วนประกอบหลักคือโครงสร้างรองรับเครื่องยนต์ แขนจับ สกี ล้อ และแขนจับกล้า รูปทรงคล้ายโครงสร้างของเครื่องกำจัดวัชพืชของประเทศญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบัน โดยมีส่วนประกอบคือโครงสร้างเครื่องดำนา เครื่องยนต์ ล้อนำ และหัวจับต้นกล้า เป็นต้น
ส่งเสริมเกษตรกรรายเล็ก หรือเกษตรชีวภาพ ผ่อนแรง ประหยัดแรงงานและเวลา เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนในการเพาะปลูก ส่งเสริมในเกษตรกรมีรายได้ ช่วยลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิต และส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพครบวงจร
เอกสาร/ระดับ | อศจ. |
ว-สอศ-2 | |
ว-สอศ-3 | |
ภาคผนวก |