พลาสติกสิ้นค่า รังสรรค์อัญญาภรณ์ล้านนา (Useless Plasstic Bottels to Precious Anyaphorn Lanna Accessories)
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นางสาว ธันวาภรณ์ เวชโกศล | สามัญ |
2 | นางสาว สุปรียา เตรียมจันทร์ | สามัญ |
3 | นางสาว รุ่งนภา ขาวสะอาด | สามัญ |
4 | นางสาว อัจฉรา ทองปัน | สามัญ |
5 | นางสาว กัณฐิกา ท่าข้าม | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นางสาว เมขลา แซ่เกา | ปวช. |
2 | นางสาว ทักษิณา แสงดา | ปวช. |
วิทยาลัยการอาชีพฝาง
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์งานหัตถศิลปอัญญาภรณ์ล้านนาจากขวดพลาสติกเหลือใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตงานหัตถศิลปอัญญาภรณ์ล้านนาจากขวดพลาสติกเหลือใช้ เพื่อเพิ่มมูลค่าของขวดพลาสติกเหลือใช้
คุณลักษณะ / ประโยชน์
พลาสติกสิ้นค่า รังสรรค์อัญญาภรณ์ล้านนา เป็นการนำอัตลักษณ์ของล้านนาซึ่งมีคุณค่า
ความสวยงามเชิงศิลปะและการออกแบบผสมผสานโดยการนำพลาสติกเหลือใช้จากขวดน้ำมาประยุกต์ใช้ใน
การออกแบบเครื่องประดับที่นระหว่างงานสมัยโบราณกับงานสมัยใหม่ เป็นการรังสรรค์ผลงานเครื่องประดับร่วมสมัยที่มีวัสดุเหลือใช้มารังสรรค์ และยังเป็นการสร้างทางเลือกหนึ่งในการใช้เครื่องประดับของผู้คนในล้านนาและนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ผู้ประกอบการยังใช้เป็นแนวทางออกแบบเครื่องประดับให้เกิดรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อต่อยอดไปสู่การส่งเสริมการท่องเที่ยวในล้านนา
1. ผู้ประดิษฐ์ได้ทราบวิธีผลิตงานอัญญาภรณ์ล้านนา จากขวดพลาสติกเหลือใช้
2. วิทยาลัยการอาชีพฝางและชุมชนสามารถนำขยะเหลือใช้มาเพิ่มมูลค่า
3. ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์หัตถศิลป์อัญญาภรณ์ล้านนา
4. ผู้ประดิษฐ์สามารถอนุรักษ์ สืบสาน ต่อยอด งานหัตถศิลป์พื้นเมือง (ล้านนา)
5. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ในชุมชนที่สามรถต่อยอดและสร้างรายได้ในเชิงพาณิชย์
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |