ปั้นปูนตำ เลิศล้ำลายล้านนา
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย จักรพันธ์ แปงสุข | อุตสาหกรรม |
2 | นาย พิรัชชัย สูงปานเขา | อุตสาหกรรม |
3 | นาย อรรธญา ไชยดวงดี | อุตสาหกรรม |
4 | นาย อนุวัตร มูลกัน | อุตสาหกรรม |
5 | นางสาว เฌอรินพร ปาลี | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย สมาธิ เทวภักดิ์ | ปวช. |
2 | นางสาว วรัญญา บุญแก้ว | ปวช. |
3 | นางสาว ปวีณ์ธิดา วิจิตรโท | ปวช. |
4 | นางสาว เกวลิน ทองใบ | ปวช. |
5 | นางสาว นภัสสร คำป่า | ปวช. |
6 | นาย สัจจานนท์ พุทธสอน | ปวช. |
วิทยาลัยเทคนิคลำปาง
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์
บทคัดย่อ
ปั้นปูนตำ เลิศล้ำลายล้านนา เป็นการผสมผสานการปั้นปูนตำและลายล้านนาเข้าด้วยกัน ปูนตำ คือ การนำปูนมาตำเข้ากับวัสดุผสม สามารถปั้นแต่งได้ง่าย มีเวลาในการปั้นตกแต่งรายละเอียดเพียงพอ ในทางภาคเหนือมีประติมากรรมที่หลากหลาย หนึ่งในปฏิมากรรมซึ่งเป็นที่นิยมของชาวล้านนาที่มักจะพบเห็นปฏิมากรรมที่ปั้นเป็นเรื่องราวหรือลวดลายประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม พระอุโบสถ และวิหารต่าง ๆ ประกอบกับภาคเหนือมีลวดลายศิลปะล้านนาที่มีความเก่าแก่สืบทอดมาแต่โบราณ ปัจจุบันพบเห็นได้ยากในงานประติมากรรมการปั้น
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ใช้เป็นของประดับตกแต่ง และเป็นของที่ระลึก ชิ้นงานผลิตจากปูนตำ โดยปั้นปูนตำ ตามลวดลายที่กำหนดลงบนผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ อาทิ เช่น กรอบรูปภาพ หม้อน้ำดินเผา และเป็นการอนุรักษ์การปั้นปูนตำ รวมไปถึงการนำผลงานผลิตภัณฑ์ ก้าวสู่เชิงพาณิชย์
อนุรักษ์การปั้นปูนตำและลวดลายล้านนา
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |