การพัฒนาชุดอุปกรณ์ดับเพลิง พลังงานแสงอาทิตย์
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย วชิรพันธุ์ บรรลือ | อุตสาหกรรม |
2 | นาย อภิรักษ์ ยอดสอน | อุตสาหกรรม |
3 | นาย กฤษณ์ พรมวัง | อุตสาหกรรม |
4 | นาย ทวิทย์ วุฒิโอสถ | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย ยศพัฒน์ ทันนิเทศ | ปวส. |
2 | นาย ณัฐภัทร แรงโสม | ปวส. |
3 | นาย ณัฐวัฒน์ ใจวรรณ | ปวส. |
4 | นาย กษิดิศ กันต๊ะกวาง | ปวส. |
5 | นาย เจษฎางค์ งามผิว | ปวส. |
วิทยาลัยเทคนิคแพร่
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
บทคัดย่อ
ในการพัฒนาชุดอุปกรณ์ดับเพลิงพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นมา เนื่องจากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรืออุบัติเหตุที่เกี่ยวกับอัคคีภัย ซึ่งพื้นที่ส่วนเป็นพื้นที่คับแคบและยากต่อการที่รถดับเพลิงขนาดใหญ่จะเข้าไปในพื้นที่ ซึ่งชุดอุปกรณ์ดับเพลิงพลังงานแสงอาทิตย์สามารถเข้าไปช่วยในเวลาที่รวดเร็วกว่า เพื่อบรรเทาอัคคีภัยไม่ให้ขยายวงกว้าง จากการประเมินความพึงพอใจในการใช้ชุดดับเพลิงพลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีค่ามากที่สุดคือ อุปกรณ์ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รายการที่การประเมินความพึงพอใจในการใช้ชุดดับเพลิงพลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีค่ามากที่สุดคือ อุปกรณ์ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีค่า 3.65 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.81 รายการที่มีคะแนนรองลงมาคือ ระบบการทำงานมีความคล่องตัวในการทำงาน 3.60 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.88 ซึ่งมีรายการที่ได้รับการประเมินน้อยที่สุด คือเครื่องสามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง มีค่า 3.35 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 โดยมีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยทั้งหมด 3.51 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.80 อยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมาก
คุณลักษณะ / ประโยชน์
สามารถระงับเหตุอัคคีภัยฉุกเฉินในพื้นที่เร่งด่วนได้ เนื่องจากมีความคล่องตัวในการเข้าพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วเพื่อลดการเกิดความเสียหายในพื้นที่เกิดเหตุได้ และสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้
1.สามารถช่วยบรรเทาเหตุอัคคีภัยเบื้องต้นได้
2.สามารถเป็นต้นแบบในการพัฒนาชุดอุปกรณ์ดับเพลิงได้
3.สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาิทตย์ได้
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |