Dual Axis Tracker
วิทยาลัยเทคนิคลำปาง
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
บทคัดย่อ
พลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่สะอาดและหาได้ง่ายที่สุดในธรรมชาติ การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์มายังโลกมีการกระจายตัวไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทำให้แต่ละบริเวณได้รับรังสี ไม่เท่ากัน ประเทศไทยมีภูมิประเทศตั้งอยู่ในแถบเส้นศูนย์สูตร จึงเป็นข้อได้เปรียบที่ทำให้ได้รับพลังงานอย่างมากมายจากดวงอาทิตย์ ดังนั้นการสร้าง Dual Axis Tracker ที่มีความสามารถในการติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ จะทำให้สามารถเพิ่มกำลังการผลิต หรือกำลังสูงสุดที่ตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ตลอดเวลาหรือใกล้เคียงที่สุด
คุณลักษณะ / ประโยชน์
1.ชิ้นงานสามารถหมุนโซล่าเซลล์ตามแสงอาทิตย์ได้ 4 ด้าน
2.สามารถใส่โซล่าเซลล์ขนาด 100 W ถึง 330 W
1.สามารถสร้างโซล่าเซลล์ที่สามารถรับแสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.สามารถนำความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ
3.สามารถพัฒนาให้ใช้ในระบบการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในระบบใหญ่ได้
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย วรมิตร ปินตาติ๊บ | อุตสาหกรรม |
2 | นาย หิรัญ เจตะภัย | อุตสาหกรรม |
3 | นางสาว กาญดา อ่อนสงไกร | อุตสาหกรรม |
4 | นางสาว โสภาพรรณ ใฝนันตา | อุตสาหกรรม |
5 | นางสาว พิมลพรรณ ไชยตา | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย ชัยพฤกษ์ นามเสน | ปวส. |
2 | นาย สิกษกะ สีธิจู | ปวส. |
3 | นางสาว นัฐธิดา จำธรรม | ปวส. |
4 | นางสาว กนกรักษ์ สุขเจริญ | ปวส. |
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |