รถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | ว่าที่ ร.ท. ยุทธนา อินต๊ะวงค์ | อุตสาหกรรม |
2 | นาย สมคิด ไชยวงค์ | อุตสาหกรรม |
3 | นาย สุพจน์ ตื้อคำ | อุตสาหกรรม |
4 | นาย นพพร ปิงเมือง | อุตสาหกรรม |
5 | นาย คฑาวุธ จุใจ | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย สุริยา ศรีหะ | ปวช. |
2 | นาย วีรภัทร ไชยะ | ปวช. |
3 | นางสาว วิจิตรา สารน้อย | ปวช. |
4 | นาย ชัยพร สิบปุ๊ด | ปวช. |
5 | นาย ชินภัทร ระวังการ | ปวช. |
6 | นาย โชคทวี แก่นท้าว | ปวช. |
7 | นาย ณัฎฐกิจ นันตะนะ | ปวส. |
8 | นาย นิธินันธ์ เขียวตื้ออินทร์ | ปวส. |
วิทยาลัยเทคนิคเทิง
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สร้างรถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์ 2) หาประสิทธิภาพรถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์ 3) ลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ผลการวิจัยพบว่าประโยชน์การใช้งานรถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์ และความคุ้มค่าของสิ่งประดิษฐ์ อยู่ในระดับ “ดี” ความประหยัดพลังงานอยู่ในระดับ “ดี” สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับ “ดี” เทคนิคในการออกแบบระบบทำงานเหมาะสมและปลอดภัย อยู่ในระดับ “ดี” สามารถพัฒนาไปสู่เชิงพาณิชได้ อยู่ในระดับ “ดี” รูปแบบมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ “ดี” และ การเลือกใช้วัสดุในการผลิต ประหยัด เหมาะสมกับงาน อยู่ในระดับ “ดี” สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์โดย ความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับ “ดี”
คุณลักษณะ / ประโยชน์
รถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์ สร้างขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการประกอบอาชีพของประชาชนทั่วไป ประกอบด้วยชุดสับสามใบมีด และระบบไฟฟ้า 220V.50Hz. ที่แปลงมาจากระบบพลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์)
1. ได้รถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 1 คัน
2. ทราบประสิทธิภาพของรถเข็นขายลาบพลังงานแสงอาทิตย์
3. สามารถลดระยะเวลาประกอบอาหาร (ลาบ)
4. สามารถทำกิจกรรมอื่นควบคู่กับการประกอบอาหาร (ลาบ)
5. ประหยัดพลังงานในการใช้ไฟฟ้าลง 30% ถึง 40%
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |