วีลแชร์เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย พรชัย ทองฤทธิ์ | สามัญ |
2 | นาย นนทพัทธ์ เสริมสุขต่อ | สามัญ |
3 | นาย ปิติชัย บุญชื่น | สามัญ |
4 | นาย มณฑล นาคสุข | สามัญ |
5 | นาย ธีรนนท์ จันทร์ศิลา | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย พรเทพ ไวเกษตรกรณ์ | ปวส. |
2 | นาย ขจรศักดิ์ กำเหนิด | ปวส. |
3 | นาย อนุรักษ์ ลบลม | ปวส. |
4 | นาย วิรุจ ดิษเจริญ | ปวส. |
5 | นาย สิทธิพร ลีลา | ปวส. |
6 | นาย จิรายุ หัฐบูรณ์ | ปวส. |
7 | นาย กฤชนันต์ กงชัยภูมิ | ปวส. |
8 | นาย สุพจน์ สมพงษ์ | ปวส. |
9 | นาย อดิศักดิ์ คันศร | ปวส. |
10 | นาย ธนาวุฒิ โพธิหา | ปวส. |
วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านการแพทย์ (ด้านการป้องกันโรคติดต่อ)
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างวีลแชร์เคลื่อนย้ายผู้ป่วยและเพื่อหาประสิทธิภาพของวีลแชร์ขนย้ายผู้ป่วยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจประเมินหาประสิทธิภาพของวีลแชร์เคลื่อนย้ายผู้ป่วยจำนวน 3 คน คือแพทย์และจำหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะนาว จังหวัดอุทัยธานี โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ป็นแบบสอบถามซึ่งผ่านการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha – Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) หาการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านข้อกำหนด/คุณสมบัติของผลงาน ด้านความเหมาะสมของผลงาน ด้านการใช้วัสดุผลิต ด้านคุณค่าของผลงานโครงการ ด้านการนำเสนอผลงาน และด้านเอกสารประกอบการนำเสนอผลงาน ข้อมูลที่เกี่ยวกับการหาประสิทธิภาพของเครื่อง การใช้วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Stardadr Deviation) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังนี้ประสิทธิภาพของวีลแชร์เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอยู่ในระดับดี
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ใช้สำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยรับน้ำหนักได้ 45-100 กิโลกรัม มีความแข็งแรงและปลอดภัย
มีคุณภาพ/ประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
มีศักยภาพในการนำไปพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์/อุตสาหกรรม
สามารถนำไปประยุกต์เป็นต้นแบบทางวิชาการและเป็นต้นแบบทางเทคโนโลยี
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | ||
ว-สอศ-3 | ||
ภาคผนวก |