เข็มขัดสมุนไพรประคบร้อน
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาง จินตนา ใจรักษ์ | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
2 | นางสาว ณัฐอริญ บุญมี | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
3 | นาย ทรงรัตน์ ใจรักษ์ | สามัญ |
4 | นาย โกวิกย์ เลื่อนแป้น | อุตสาหกรรม |
5 | นาย ปรีดีนันท์ บุญทิม | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นางสาว กมลนิตย์ จงธนเลิศพร | ปวส. |
2 | นางสาว รัชฎา นิ่มประเสริฐ | ปวส. |
วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านการแพทย์ (ด้านการป้องกันโรคติดต่อ)
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) 1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับเข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า 2. เพื่อสร้างเข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า 3. เพื่อส่งเสริมการทำเข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง แผนกการบัญชี วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรีที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2/2563 จำนวน 38 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่เข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า แบบประเมินประสิทธิภาพของเข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อเข็ดขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า และสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1.) การประเมินประสิทธิภาพของเข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า ใน 5 ด้าน โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ในภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ใน ระดับมาก(x ̅ = 4.37, S.D. = 1.93) 2) ศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของเข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนไฟฟ้า
คุณลักษณะ / ประโยชน์
1.เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน
2.นำวัตถุที่มีในชุมชนมาจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์
3.รักษาอาการผู้ที่มีอาหารปวดท้องประจำเดือน
1.ช่วยบรราเทาอาปวดท้องประเดือน
2.ลดอาการปวดเมื่อยทางร่างกาย
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | - | |
ว-สอศ-3 | - | |
ภาคผนวก | - |