ฟาร์มเลี้ยงปูนาอัจฉริยะ Smart Crab Farm
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย มงคล ศิริโสม | อุตสาหกรรม |
2 | นาย พิชิต สพลาภ | อุตสาหกรรม |
3 | นาย วรพล ขันศรี | อุตสาหกรรม |
4 | นาย ศรเพชร รังชัย | อุตสาหกรรม |
5 | นาย อาทิตย์ สพลาภ | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย ชาญเดช จันทราช | ปวช. |
2 | นาย ไชยา เจริญยุทธ | ปวส. |
วิทยาลัยการอาชีพพนมไพร
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ (Mini Smart Farms)
บทคัดย่อ
ประเทศไทยบริโภคปูนา เดือนละ 45 ล้านตัว เราต้องนำเข้าปูนากว่า 25 ล้านตัวต่อเดือน ที่สำคัญปูนา ในธรรมชาติเริ่มมีจำนวนที่ลดน้อยลง จากการทำเกษตรสารเคมี การเลี้ยงปูนาในปัจจุบัน มีการพัฒนาการแปรรูปเป็นอาหาร ผลิตภัณฑ์เพื่อบริโภคและมีกรแปรรูปเพื่อส่งออกต่างประเทศได้อีกด้วย ผู้วิจัยได้คิดค้นและพัฒนาระบบการเลี้ยงปูนาน้ำใสขึ้น ด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ เพื่อให้ระบบการเลี้ยงปูนาน้ำใส ให้มีความสะดวกสบายต่อเกษตรกร สามารถควบคุมทางไกลผ่านระบบ WIFI ได้ เพื่อเพิ่มผลผลิตของปูนาและทดแทน การนำเข้าปูนา และพัฒนามูลค่าของปูนาให้สูงขึ้น ด้วยระบบน้ำใสนี้ ทำให้ราคาปูสูงกว่าราคาท้องตลาดถึง 2-3 เท่าตัว มีเท่าไหร่ก็ไม่พอขาย และตอบสนองการตลาดที่กำลังได้รับความนิยมในขณะนี้
คุณลักษณะ / ประโยชน์
- การเปลี่ยนน้ำ
- การให้อาหาร
- การตรวจสอบอุณหภูมิ ความชื้น
- การดูพฤติกรรมของปูผ่านกล้อง
- การฉีดน้ำสปริงเกอร์
สามารถควบคุมทางไกลผ่านระบบ WIFI ได้ ไม่ว่าเราจอยู่ไหนก็ตาม
๑.ได้ระบบการเลี้ยงปูนาน้ำใสให้กับชุมชน
๒.ได้ศึกษาระบบการเลี้ยงปูนาน้ำใสด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ IOT ได้
๓.พัฒนาระบบการเลี้ยงปูนาน้ำใส สามารถพัฒนาไปสู่เชิงพาณิชย์
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | - | |
ว-สอศ-3 | - | |
ภาคผนวก | - |