กล้วยฆ่ายางพารา
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย ปรีชา โสภา | อุตสาหกรรม |
2 | นาย สุภชัย จีนใจน้ำ | อุตสาหกรรม |
3 | นาย ฐาปนา เจริญพร | อุตสาหกรรม |
4 | นาย วัชรพงษ์ สุมาลุย์ | อุตสาหกรรม |
5 | นางสาว อริยา สิงห์ธีร์ | สามัญ |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย วัชระ ธรรมเจริญ | ปวช. |
2 | นาย อภิวัฒน์ เสวะดี | ปวส. |
3 | นาย ชัยรัตน์ สรายทอง | ปวส. |
4 | นาย ณัฐนนท์ ดีมาก | ปวส. |
5 | นาย ภูมินทร์ พนะสัน | ปวส. |
6 | นาย ศักดิ์สกุล หมายชัย | ปวส. |
7 | นาย สุทธิพงษ์ ศุภนาม | ปวส. |
8 | นาย วีรพล วรรณดี | ปวส. |
9 | นาย วันเฉลิม ศรีบุญเรือง | ปวส. |
10 | นาย ปิติภัทร ดวงใจ | ปวส. |
วิทยาลัยการอาชีพศีขรภูมิ
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
บทคัดย่อ
ผลการแสดงการเปรียบเทียบมวลของเนื้อยางพาราที่เกิดจากการใช้น้ำหมักจากจากกล้วย มะกรูด มะดัน สับปะรด และกรดที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางพารา ตราเสือ โดยใช้ปริมาณน้ำยางพารา 20 ml เท่ากัน กรดชีวภาพมีมวลน้ำหนักมากกว่า กรดที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางพารา ตราเสือ ปริมาณน้ำยางพารา 30 ml เท่ากัน กรดชีวภาพมีมวลน้ำหนักมากกว่า กรดที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางพารา ตราเสือ ปริมาณน้ำยางพารา 40 ml เท่ากัน กรดชีวภาพมีมวลน้ำหนักมากกว่า กรดที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางพารา ตราเสือ สรุปผลจากการทดลองได้พบว่า กรดชีวภาพทั้ง 4 สูตร เป็นกรดอ่อน มีเวลาในการจับตัวที่ดี เนื้อยางพาราเป็นสีขาวและกลิ่นไม่เหม็น และทำให้ยางพารามีน้ำหนักดี เหมาะสำหรับนำไปใช้ในการทำยางก้อนถ้วย
คุณลักษณะ / ประโยชน์
จับตัวที่ดี เนื้อยางพาราเป็นสีขาวและกลิ่นไม่เหม็น และทำให้ยางพารามีน้ำหนักดี
1 ด้านความรู้ ได้พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ระบบและสิ่งที่มีชีวิตเพื่อพัฒนาหรือสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ หรือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใดๆ ที่ใช้ระบบชีวภาพ
2 ด้านการผลิต เพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบทางการเกษตรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
เอกสาร/ระดับ | อศจ. |
ว-สอศ-2 | |
ว-สอศ-3 | |
ภาคผนวก |