น้ำไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย เฉลิมพงษ์ สารสมัคร | อุตสาหกรรม |
2 | นาย ถวัลย์ ประชาชัย | อุตสาหกรรม |
3 | นาย บัณฑิตย์ เทียงดาห์ | อุตสาหกรรม |
4 | นางสาว ธาริตา ภูเลี่ยมคำ | พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ |
5 | นาย โชติกุร กุดแถลง | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย วราวุฒิ จิตบรรจง | ปวช. |
2 | นาย อดิศร ขอนขว้าง | ปวช. |
3 | นาย ภาคิน ไสวงาม | ปวช. |
4 | นางสาว กนกพร เจียมใจ | ปวช. |
5 | นางสาว ลลิตา เผือดนอก | ปวช. |
6 | นางสาว วิภาพร ด้านเนาลา | ปวช. |
วิทยาลัยสารพัดช่างมหาสารคาม
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
บทคัดย่อ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคุณภาพของน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว โดยภาพรวมพบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพดี คือ ค่าเท่ากับ ๔.๕๖ และ ค่า S.D. เท่ากับ ๐.๕๓ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทั้งสามข้อพบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ผลการวิเคราะห์เสนอแนะจากแบบสอบถามปลายเปิดพบว่าน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว มีข้อเสียคือ เรื่องกลิ่นของน้ำมันไบโอดีเซลมีกลิ่นฉุนมากเกินไปและมีสีของน้ำมันไบโอดีเซลสีเข้มมากทำให้น้ำมันไม่น่าใช้งาน
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ได้จากการกลั่น ภายในระยะเวลา 30 นาที สามารถกลั่นน้ำมันพืชที่ผ่านการใช้งานแล้ว 5 ลิตร ได้น้ำมันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 3 ลิตร คุ้มต่อการลงทุน
1. เพื่อพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขข้อจำกัดของอุปกรณ์กลั่นน้ำมันพืชที่ใช้แล้วเป็นไบโอดีเซล ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2. ได้อุปกรณ์กลั่นน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วเป็นไบโอดีเซล ที่มีประสิทธิภาพและปริมาณในการการกลั่นสูงกว่าเดิม เมื่อใช้ระยะเวลาในการกลั่นเท่ากัน
3. กลุ่มเกษตรกรผู้สนใจสามารถนำแบบที่ได้พัฒนาแล้ว ไปสร้างอุปกรณ์กลั่นน้ำมันพืชที่ใช้แล้วเป็นไบโอดีเซล ไว้ใช้งานเองได้
4. สามารถนำอุปกรณ์กลั่นน้ำมันพืชที่ใช้แล้วเป็นไบโอดีเซล มาผ่านกระบวนการกลั่นให้กลายเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงแทนน้ำมันเชื้อเพลิงได้
5. ต้นทุนในการกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำมาก
6. สามารถใช้งานได้มากกว่า 5 ปี
เอกสาร/ระดับ | อศจ. |
ว-สอศ-2 | |
ว-สอศ-3 | |
ภาคผนวก |