ชุดควบคุมเกษตรอัจฉริยะ 4.0
อาจารย์ที่ปรึกษา
# | ชื่อ - นามสกุล | แผนก / ฝ่าย |
---|---|---|
1 | นาย มหิดล สุรียพรรณ | อุตสาหกรรม |
2 | นางสาว เปมิกา กันทะวงค์ | สามัญ |
3 | นาง สุภัทตรา โพธิ์ธนาภา | คหกรรม |
4 | นาย เฉลิมพสิทธิ์ พรหมทา | อุตสาหกรรม |
นักเรียน
# | ชื่อ - นามสกุล | ระดับหลักสูตร |
---|---|---|
1 | นาย ลิขิต ทองมูล | ปวช. |
2 | นาย ธีรภัทร ไวยังดี | ปวช. |
3 | นางสาว วิลัยพร แซ่แต้ | ปวช. |
4 | นางสาว วิภาพร แซ่แต้ | ปวช. |
5 | นาย จีรวัฒน์ อินทร์ขำ | ปวส. |
6 | นาย เศรษฐา พุฒติ | ปวส. |
7 | นาย ปริญญา ลบแย้ม | ปวส. |
8 | นาย อนันต์ ทองมูล | ปวส. |
9 | นาย เอกกมล อินถรถนอม | ปวส. |
10 | นาย วุฒิพงษ์ โล้วหนู | ปวส. |
วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม
ประเภท : สิ่งประดิษฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ (Mini Smart Farms)
บทคัดย่อ
การพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนด้านเกษตรเป็นต้น ซึ่งเกษตรกรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม จะอาศัยและอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนละพอเพียงฟาร์มอัจฉริยะมีความแตกต่างกับฟาร์มธรรมดาตรงที่การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างแม่นยำและตรงต่อความต้องการของพืช ช่วยลดการสูญเสียทรัพยากร การให้ปุ๋ยที่พอดีช่วยทำให้ดินไม่เสีย ไม่เกิดการล้นของแร่ธาตุ ที่อาจทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมลงได้ ซึ่งเกษตรกรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม จะอาศัยและอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนละพอเพียงการสร้าง ชุดควบคุมเกษตรอัจฉริยะ 4.0 เพื่อสามารถควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น และแสงสว่างได้ผ่านสมาร์ทโฟน และจอแสดงผล เพื่อลดเวลาในการสั่งการและเข้าถึงอุปกรณ์และแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่นใลน์ (Line)
คุณลักษณะ / ประโยชน์
ฟาร์มอัจฉริยะมีความแตกต่างกับฟาร์มธรรมดาตรงที่การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างแม่นยำและตรงต่อความต้องการของพืช ช่วยลดการสูญเสียทรัพยากร การให้ปุ๋ยที่พอดีช่วยทำให้ดินไม่เสีย ไม่เกิดการล้นของแร่ธาตุ ที่อาจทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมลงได้ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (research and development)
1. ได้ชุดควบคุมเกษตรอัจฉริยะ 4.0
2. ประสิทธิภาพในการใช้งานของชุดควบคุมเกษตรอัจฉริยะ 4.0 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ความพึงพอใจของผู้ใช้ควบคุมเกษตรอัจฉริยะ 4.0 ไม่น้อยกว่า ระดับ ดี
เอกสาร/ระดับ | อศจ. | ภาค |
ว-สอศ-2 | - | |
ว-สอศ-3 | - | |
ภาคผนวก | - |